วันพฤหัสบดีที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556

ตัวอย่างคำสั่งการเชื่อมต่อแบบ Dynamic

          การกำหนดเส้นทางข้อมูลแบบไดนามิกในตัวอย่างนี้จะใช้โปรโตคอลเลือกเส้นทาง RIP ในการส่งข้อมูล เพราะเป็นโปรโตคอลเลือกเส้นทางที่ถูกออกแบบมาให้ใช้กับเครือข่ายขนาดกลางและขนาดเล็ก ซึ่งอ้างอิงการเชื่อมโยง Router 

 

คำสั่งสำหรับ Router A
1. Router>enable
2. Router#config terminal
3. Router(config)#hostname Router-A
4. Router-A(config)#line console 0
5. Router-A(config-line)#password 123456
6. Router-A(config-line)#login
7. Router-A(config-line)#exit
8. Router-A(config)#interface s0
9. Router-A(config-if)#ip address 192.168.0.101            255.255.255.252
10. Router-A(config-if)#bandwidth 64
11. Router-A(config-if)#encapsulation ppp
12. Router-A(config-if)#no shutdown
13. Router-A(config-if)#exit
14. Roter-A(config)#interface e0
15. Router-A(config-if)#ip address 192.168.1.1       255.255.255.0
16. Router-A(config-if)#no shutdown
17. Router-A(config-if)#exit
18. Router-A(config)#router rip
19. Router-A(config-router)#version 2
20. Router-A(config-router)#network 192.168.0.100
21. Router-A(config-router)#network 192.168.1.0
22. Router-A(config-router)#end
23. Router-A(config-router)#exit
24. Router-A#wr mem

อธิบายคำสั่งบน Router A
                เนื่องจากคำสั่งตั้งแต่ขั้นตอนที่ 1-17 มีหน้าที่การทำงานเหมือนกับคำสั่งการเชื่อมต่อแบบสเตติก จึงขออธิบายเฉพาะคำสั่งตั้งแต่ขั้นตอนที่ 18-22
ขั้นตอนที่ 18        กำหนดเส้นทางข้อมูลโดยใช้โปรโตคอล RIP ด้วยคำสั่ง router rip
ขั้นตอนที่ 19        ให้ใช้โปรโตคอล RIP เวอร์ชั่น 2
ขั้นตอนที่ 20        ระบุหมายเลขเครือข่ายที่ Router เชื่อมต่ออยู่ โดยระบุไว้หลังคำสั่ง network ซึ่งก็คือ เครือข่าย 192.168.0.100 ดังนั้นจึงเขียนคำสั่งได้ว่า network 192.168.0.100
ขั้นตอนที่ 21        อีกหนึ่งเครือข่ายที่เชื่อมต่อกับ Router คือเครือข่าย 192.168.1.0 จึงเขียนคำสั่งได้ว่า network 192.168.1.0
ขั้นตอนที่ 22        ออกจากดโหมดการกำหนดโปรโตคอลเลือกเส้นทาง

คำสั่งสำหรับ Router B
1. Router>enable
2. Router#config terminal
3. Router(config)#hostname Router-B
4. Router-B(config)#line console 0
5. Router-B(config-line)#password 123456
6. Router-B(config-line)#login
7. Router-B(config-line)#exit
8. Router-B(config)#interface s0
9. Router-B(config-if)#ip address 192.168.0.102            255.255.255.252
10. Router-B(config-if)#bandwidth 64
11. Router-B(config-if)#encapsulation ppp
12. Router-B(config-if)#no shutdown
13. Router-B(config-if)#exit
14. Roter-A(config)#interface e0
15. Router-B(config-if)#ip address 192.168.2.1       255.255.255.0
16. Router-B(config-if)#no shutdown
17. Router-B(config-if)#exit
18. Router-B(config)#router rip
19. Router-B(config-router)#version 2
20. Router-B(config-router)#network 192.168.0.100
21. Router-B(config-router)#network 192.168.2.0
22. Router-B(config-router)#exit
23. Router-B(config)#exit
24. Router-B#wr mem

อธิบายคำสั่งบน Router B
ขั้นตอนที่ 18        กำหนดเส้นทางข้อมูลโดยใช้โปรโตคอล RIP ด้วยคำสั่ง router rip
ขั้นตอนที่ 19        ให้ใช้โปรโตคอล RIP เวอร์ชั่น 2
ขั้นตอนที่ 20        ระบุหมายเลขเครือข่ายที่ Router เชื่อมต่ออยู่ โดยระบุไว้หลังคำสั่ง network ซึ่งก็คือ เครือข่าย 192.168.0.100 ดังนั้นจึงเขียนคำสั่งได้ว่า network 192.168.0.100
ขั้นตอนที่ 21        อีกหนึ่งเครือข่ายที่เชื่อมต่อกับ Router คือเครือข่าย 192.168.2.0 จึงเขียนคำสั่งได้ว่า network 192.168.2.0
ขั้นตอนที่ 22        ออกจากดโหมดการกำหนดโปรโตคอลเลือกเส้นทาง

                ต่อไปนี้ Router ทั้งสองตัวจะสามารถเรียนรู้กันเองว่า Router ที่เชื่อมต่อด้วยนั้นได้เชื่อมต่ออยู่กับเครือข่ายใดบ้าง ดังนั้น Router ทั้งสองตัวจึงจะมีข้อมูลของเครือข่ายที่ตัวเองเชื่อมต่ออยู่โดยตรง รวมถึงเครือข่ายที่เชื่อมต่ออยู่กับ Router อีกตัว ทำให้เครือข่ายททั้งหมดสามารถติดต่อสื่อสารกันได้



0 ความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น